Page 15 - คู่มือรับนักศึกษาใหม่ 64
P. 15

1)  วิชาเอกเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ เน้นด้านสัตวศาสตร์ นักศึกษารู้จริง
 ปฏิบัติและประยุกต์ได้ โดยสามารถวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา แก้ปัญหาและ
 เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์ มีทักษะการค้นคว้า
 สามารถท�างานเป็นทีม และมีความสามารถในการสื่อสาร การเรียนรู้เชิงบูรณาการ
 โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (problem-based learning, PBL)
    2.)  วิชาเอกเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ - โทความเป็นผู้ประกอบการ เน้นให้
 มีความรู้ความสามารถ มีทักษะที่เพียงพอในการประกอบอาชีพ และมีแนวคิดใน
 การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจนวัตกรรม (Innovative Entrepreneurs) หรือเป็น
 บุคลากรประกอบการในองค์กร (Entrepreneurs)
    3.  เทคโนโลยีอาหาร   ส�นักวิชาเทคโนโลยีสังคม
    ศึกษาและประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายแขนง ประกอบด้วย จุลชีววิทยา
 อาหาร เคมีอาหาร การแปรรูปอาหาร วิศวกรรมอาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ    สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ
 การจัดการโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและการตลาด  หลักสูตรการจัดการบัณฑิต
    ลักษณะวิชาชีพ: เกี่ยวข้องกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารในระดับอุตสาหกรรม การ  จ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 178 หน่วยกิต
 ควบคุมคุณภาพกระบวนการผลิต และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร รวมถึงการตรวจวิเคราะห์
 คุณภาพอาหารทางเคมี จุลินทรีย์และกายภาพ และการวิเคราะห์คุณภาพทางประสาทสัมผัส      ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการทางธุรกิจสมัยใหม่ และพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
 อีกทั้งความปลอดภัยทางอาหาร (Food safety) การค้นคว้าและพัฒนากระบวนการแปรรูป  แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มวิชาเฉพาะ คือ
 ผลิตภัณฑ์อาหารชนิดใหม่และการใช้บรรจุภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ ตลอดจนเกี่ยวข้องกับการบริหาร     1)  การจัดำการการตลาดำ  ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค การจัดการการตลาด
 และการจัดการในระบบอุตสาหกรรมและการตลาด  การตลาดดิจิทัล การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการ การวิจัยการตลาด และประเด็น
          สมัยใหม่เกี่ยวกับการตลาด นอกจากนี้ ยังมีวิชาเลือกที่ทันสมัย เช่น การตลาดระหว่างประเทศ
 หลักสูตรนานาชาติ
 (International Program)  การตลาดบริการ การตลาดธุรกิจชุมชน การจัดการการขาย การจัดการตราสินค้า การจัด
          กิจกรรมทางการตลาด การตลาดทางตรง การจัดการการค้าปลีก เป็นต้น
 หลักสูตรบูรณาการเทคโนโลยีการเกษตรและการจัดการความปลอดภัย     2)  การจัดำการโลจิสติกส์  ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน
 ด้านอาหาร (Integrated Agricultural Technology and Food Safety   การบริหารการจัดซื้อจัดหาและความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์ การจัดการคลังสินค้าและ
 Management)  จ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 185 หน่วยกิต  การกระจายสินค้า การวางแผนและควบคุมโลจิสติกส์ การจัดการการขนส่ง การจัดการสินค้า
    ศึกษาเกี่ยวกับหลักการและวิทยาการการผลิตพืชและสัตว์ การวิเคราะห์ความเสี่ยง  คงคลังและอุปสงค์ โลจิสติกส์ระหว่างประเทศ การจ�าลองสถานการณ์ทางธุรกิจ และเปิด
 และวางแผนกระบวนการการแปรรูปอาหาร การควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยผลิตภัณฑ์  วิชาเลือกที่จะเป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพ เช่น ระบบสารสนเทศส�าหรับโลจิสติกส์
 ทางการเกษตร ซึ่งจะบูรณาการองค์ความรู้ดังกล่าวเข้ากับหลักการจัดการธุรกิจ โดยบัณฑิต  การพยากรณ์ทางธุรกิจ การด�าเนินงานด้านบริการ การจัดการคุณภาพ แบบจ�าลองส�าหรับ
 จะเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในกระบวนการผลิตอาหารตั้งแต่ต้นน�้าจนปลายน�้า และจะสามารถ
 วางแผน จัดการ และด�าเนินการธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการเกษตรได้ ซึ่งการเรียน  ห่วงโซ่อุปทาน เศรษฐศาสตร์ขนส่งและโลจิสติกส์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานทาง
 การสอนจะใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อสร้างศักยภาพและเปิดโอกาสให้บัณฑิตสามารถเข้าร่วมงาน  โลจิสติกส์ เป็นต้น
 กับบริษัทชั้นน�าระดับโลก

 12                                                                         13




 Manual SUT 64.indd   12-13                                            9/4/2020   3:37:07 PM
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20